แนวทางการดำเนินงาน
ตารางการดำเนินงานออกคัดกรอง ดังนี้
วันที่ออกบริการ
|
จุดบริการหลัก
|
ชื่อหมู่บ้านที่คัดกรอง
|
17 ม.ค.
57
|
วัดบ้านปลาเดิด
ม.8 ต.ระเวียง
|
บ้านปลาเดิด
หมู่ 8
|
21 ม.ค.
57
|
วัดบ้านก้านเหลือง
ม.4 ต.ระเวียง
|
บ้านก้านเหลือง
หมู่ 4
|
22 ม.ค.
57
|
วัดบ้านหนองหว้า
ม.5 ต.ระเวียง
|
บ้านหนองหว้า
หมู่ 5
|
24 ม.ค.
57
|
ศูนย์การเรียนรู้
บ้านซาต ม.3
ต.ระเวียง
|
บ้านซาต
หมู่ 3
|
29 ม.ค.
57
|
ศาลาประชาคม
บ้านซาต ม.10
ต.ระเวียง
|
บ้านซาต
หมู่ 10
|
บริการที่จัดเพื่อชาวบ้าน
จุดที่ 1 จุดคัดกรองทำหน้าที่ลงทะเบียน
ลงลายมือชื่อของผู้มารับบริการ แจกแบบคัดกรอง /วัดความดันโลหิต/วัดเส้นรอบเอว-สะโพก/ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง
แจกบัตรคิว จากนั้นอสม.จะสัมภาษณ์ตามแบบคัดกรอง
เนื่องจากจุดนี้เป็นจุดเริ่มต้นมีผู้มารับบริการค่อนข้างมากและเป็นด่านแรก
จำเป็นต้องมีผู้ช่วย จึงได้ทีมคณะ อสม. มาช่วยในการลงทะเบียน ซึ่งแต่
ละหมู่บ้านจะสับเปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาช่วย
ต้องสัมภาษณ์ผู้มารับบริการตามแบบฟอร์ม
ประเมิน BMI
ต้องมีเครื่องคิดเลขช่วยคำนวณ การดำเนินงาน รพ.สต.บ้านซาต มี อสม.ทั้งหมด 67
คน คณะทีม อสม.จะยกทีมไปทั้ง 5 หมู่บ้าน ทำให้เกิดความสามัคคี และเข้าใจการทำงานทุกคน ช่วยเพิ่มศักยภาพให้อสม.
จุดที่ 2
คัดกรองหลอดเลือดดี เจาะ DTX
, Hct
การเจาะเลือดในกรณีที่ผู้มารับบริการป่วยเป็นโรคเบาหวานเดิมและรับยาประจำไม่ต้องเจาะ
DTX ก็ได้ตรวจเฉพาะ Hct , และสารเคมีตกค้างเท่านั้น
ผู้มารับบริการจะงดอาหารมาตรวจหรือไม่ก็ได้
การเจาะเลือดใส่ capillary tube ต้องเรียงลำดับหมายเลขตามบัตรคิวของผู้มารับบริการเพื่อป้องกันการสลับกันกับ
tube เลือดของคนอื่นๆ และลงผลในแบบคัดกรองด้วย
จุดที่ 4 รับบัตรแจ้งผล กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มปกติ โดยกลุ่มปกติจะเป็นบัตรสีเขียว และกลุ่มเสี่ยงเป็นสีเหลือง ในบัตรจะแจ้งผลว่าผู้มารับบริการมีสุขภาพดี หรือเสี่ยง มีคำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
จุดที่ 5 รับยา/ให้ความรู้
ในกรณีผู้ที่มีภาวะโลหิตจาง จะให้ยา folic acid 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง รวมทั้งให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกาย
การควบคุมอาหาร การทำสมาธิ คลายเครียด และการตรวจสุขภาพเป็นประจำ
พร้อมกำชับการนัดตรวจคัดกรองซ้ำ
บ้านซาต หมู่ 3 ต. ระเวียง
วันที่ 24 มกราคม
2557
มียอดผู้มารับบริการ 42 ราย
ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่
1 การตรวจคัดกรองหลอดเลือดดีอายุ 15 ปีขึ้นไป เป้าหมาย 439 ราย
คัดกรอง
|
กลุ่มอายุ
|
รวม
|
|
15 - 34
ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
0
|
42
|
42
|
เบาหวาน
|
0
|
42
|
42
|
จากตารางที่
1 พบว่ามีผู้มารับบริการค่อนข้างน้อย
คัดกรองความดันโลหิตสูง 42 ราย
คิดเป็นร้อยละ 9.56
และคัดกรองเบาหวาน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.56 แม้จะมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
ทั้งทางหอกระจายข่าว และผ่านผู้นำชุมชน อสม.เดินประชาสัมพันธ์ตามบ้านแล้ว
กลุ่มเด็กนักเรียนต้องไปโรงเรียนซึ่งเป็นวันปกติ
และประชากรที่อยู่จริงมีน้อย
ดังนั้นการดำเนินงานกิจกรรมต้องกำหนดช่วงเวลาที่เหมาะสม และมีการออกคัดกรองซ้ำในหมู่บ้านโดยคณะ
อสม. เพื่อเก็บตก
ตารางที่
2 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเสี่ยง
|
เพศ
|
รวม
|
|||
ชาย
|
หญิง
|
||||
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
0
|
2
|
0
|
4
|
6
|
เบาหวาน
|
0
|
1
|
0
|
1
|
2
|
จากตารางที่
2 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 6 ราย คิดเป็นร้อยละ
14.28 และเสี่ยงเบาหวาน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.76 ซึ่งส่งต่อเพื่อประเมินภาวะเสี่ยงต่อที่
รพ.สต.บ้านซาต อีกครั้งและส่งต่อ รพ.โนนนารายณ์ อีก 1 ราย แพทย์วินิจฉัยป่วย เป็น
ความดันโลหิตสูงรายใหม่ 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.66
ไม่มารับการตรวจซ้ำ 1 ราย ให้ อสม.ติดตาม
ตารางที่
3
การตรวจความเข้มข้นของเลือด
กลุ่มอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
||
ปกติ(36-52 %)
|
ผิดปกติ
|
ปกติ(33-48 %)
|
ผิดปกติ
|
|
0-6
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
7-14
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
15-34
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
35 ปีขึ้นไป
|
7
|
1
|
33
|
1
|
รวม
|
7
|
1
|
33
|
1
|
จากตารางที่ 3 พบว่ามีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป มีภาวะโลหิตจางทั้งหมด 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.76 จ่ายยาบำรุงโลหิต 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
ตารางที่
4 การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
เพศ
|
ระดับความเสี่ยง
|
|||
ไม่ปลอดภัย
|
เสี่ยง
|
ปลอดภัย
|
ปกติ
|
|
ชาย
|
0
|
6
|
2
|
|
หญิง
|
1
|
32
|
1
|
0
|
รวม
|
1
|
38
|
3
|
0
|
จากตารางที่
4 พบว่าประชาชนส่วนใหญ่มีระดับสารเคมีตกค้างในเลือดในกลุ่มไม่ปลอดภัย
1 ราย และเสี่ยง 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.38 และ 90.47
ตามลำดับ ให้ดื่มชาชงรางจืดที่ แนะนำการป้องกันตนเองจากการผสมสารพิษ การสวมถุงมือ
หน้ากากเวลาฉีดพ่นยาฆ่าแมลง กลับจากทุ่งนาล้างมือเท้าให้สะอาดหรือจะอาบน้ำทันทียิ่งดี
จากนั้นหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บ้านก้านเหลือง หมู่ 4 ต. ระเวียง
วันที่ 21 มกราคม 2557 มียอดผู้มารับบริการ 68 ราย
ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 การตรวจคัดกรองหลอดเลือดดีอายุ 15 ปีขึ้นไป เป้าหมาย 920
ราย
คัดกรอง
|
กลุ่มอายุ
|
รวม
|
|
15 - 34
ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
2
|
66
|
68
|
เบาหวาน
|
2
|
66
|
68
|
จากตารางที่
1 พบว่าประชาชนบ้านก้านเหลืองให้ความสนใจมารับบริการตรวจสุขภาพน้อย
ทั้งๆที่หมู่บ้านเป็นชุมชนหนาแน่น การประชาสัมพันธ์ทั่วถึง คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 68 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.39
ตารางที่
2 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเสี่ยง
|
เพศ
|
รวม
|
|||
ชาย
|
หญิง
|
||||
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
0
|
3
|
0
|
4
|
7
|
เบาหวาน
|
0
|
0
|
0
|
2
|
2
|
จากตารางที่
2 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 7 ราย คิดเป็นร้อยละ
10.29 และเสี่ยงเบาหวาน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.94 ซึ่งส่งต่อเพื่อประเมินภาวะเสี่ยงซ้ำที่
รพ.สต.บ้านซาต ร้อยละ 100 หลังจากคัดกรองซ้ำ ไม่พบป่วยรายใหม่
ตารางที่
3
การตรวจความเข้มข้นของเลือด
กลุ่มอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
||
ปกติ(36-52 %)
|
ผิดปกติ
|
ปกติ(33-48 %)
|
ผิดปกติ
|
|
0-6
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
7-14
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
15-34
ปี
|
0
|
0
|
2
|
0
|
35 ปีขึ้นไป
|
12
|
0
|
50
|
4
|
รวม
|
12
|
0
|
52
|
4
|
จากตารางที่
3 พบว่ามีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป และเป็นเพศชายไม่มีภาวะโลหิตจาง เพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 จ่ายยาบำรุงโลหิต 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
ตารางที่ 4 การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
เพศ
|
ระดับความเสี่ยง
|
|||
ไม่ปลอดภัย
|
เสี่ยง
|
ปลอดภัย
|
ปกติ
|
|
ชาย
|
3
|
7
|
2
|
0
|
หญิง
|
12
|
32
|
12
|
0
|
รวม
|
15
|
39
|
14
|
0
|
จากตารางที่
4 พบว่ากลุ่มไม่ปลอดภัย พบ 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.05 กลุ่มเสี่ยง พบ 39 ราย
คิดเป็นร้อยละ 57.35 ปลอดภัย 14 ราย
คิดเป็นร้อยละ 20.58 ให้ดื่มน้ำสมุนไพรรางจืด เพื่อขับสารพิษ
แนะนำให้ดื่ม อย่างน้อย 2 สัปดาห์ติดต่อกัน วันละ 1-2 ครั้ง ดื่มมากไปไม่ดีจะทำให้ฆ่าเชื้อ
normal flora ในร่างกายของเรา แนะนำการป้องกันตนเองจากการผสมสารพิษ การสวมถุงมือ
หน้ากากเวลาฉีดพ่นยาฆ่าแมลง กลับจากทุ่งนาล้างมือเท้าให้สะอาดหรือจะอาบน้ำทันทียิ่งดี
จากนั้นหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บ้านหนองหว้า
หมู่ 5 ต. ระเวียง
วันที่ 22 มกราคม 2557 มียอดผู้มารับบริการ 64 ราย
ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 การตรวจคัดกรองหลอดเลือดดีอายุ 15 ปีขึ้นไป เป้าหมาย 767 ราย
คัดกรอง
|
กลุ่มอายุ
|
รวม
|
|
15 - 34
ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
1
|
63
|
64
|
เบาหวาน
|
1
|
63
|
64
|
จากตารางที่
1 พบว่าประชาชนบ้านหนองหว้าให้ความสนใจมารับบริการตรวจสุขภาพน้อย คัดกรองความดันโลหิตสูง 64 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.34 และคัดกรองเบาหวาน 64 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.34
ตารางที่
2 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเสี่ยง
|
เพศ
|
รวม
|
|||
ชาย
|
หญิง
|
||||
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
0
|
2
|
0
|
2
|
4
|
เบาหวาน
|
0
|
0
|
0
|
1
|
1
|
จากตารางที่
2 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 4 ราย คิดเป็นร้อยละ
6.25 และเสี่ยงเบาหวาน
1 ราย คิดเป็นร้อยละ
1.56 ซึ่งส่งต่อเพื่อประเมินภาวะเสี่ยงต่อที่ รพ.สต.บ้านซาต ร้อยละ 100 ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่
ตารางที่
3
การตรวจความเข้มข้นของเลือด
กลุ่มอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
||
ปกติ(36-52 %)
|
ผิดปกติ
|
ปกติ(33-48 %)
|
ผิดปกติ
|
|
0-6
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
7-14
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
15-34
ปี
|
0
|
0
|
1
|
0
|
35 ปีขึ้นไป
|
16
|
0
|
42
|
5
|
รวม
|
16
|
0
|
43
|
5
|
จากตารางที่
3 พบว่ามีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป และเป็นเพศชายไม่มีภาวะโลหิตจาง เพศหญิงโลหิตจาง 5
ราย คิดเป็นร้อยละ 11.62 จ่ายยาบำรุงโลหิต 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 แนะนำรับประทานอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ ผักใบเขียว
ตารางที่ 4 การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
เพศ
|
ระดับความเสี่ยง
|
|||
ไม่ปลอดภัย
|
เสี่ยง
|
ปลอดภัย
|
ปกติ
|
|
ชาย
|
7
|
6
|
3
|
0
|
หญิง
|
13
|
34
|
1
|
0
|
รวม
|
20
|
40
|
4
|
0
|
จากตารางที่
4 พบว่ากลุ่มไม่ปลอดภัย พบ 20 รายคิดเป็นร้อยละ 31.25 กลุ่มเสี่ยง พบ 40 ราย
คิดเป็นร้อยละ 62.50 ให้ดื่มน้ำสมุนไพรรางจืดทั้งชนิดชงดื่ม
และใบสดของรางจืดนำมาปั่นคั้นน้ำดื่ม ถ้ารสชาติเฝื่อน ผสมน้ำผึ้งเล็กน้อยให้ดื่มได้ง่ายขึ้น เพื่อขับสารพิษ แนะนำให้ดื่ม อย่างน้อย 2
สัปดาห์ติดต่อกัน วันละ 1-2 ครั้ง
แนะนำการป้องกันตนเองจากการผสมสารพิษ การสวมถุงมือ
หน้ากากเวลาฉีดพ่นยาฆ่าแมลง
บ้านปลาเดิด
หมู่ 8 ต. ระเวียง
วันที่ 17 มกราคม
2557
มียอดผู้มารับบริการ 33 ราย
ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 การตรวจคัดกรองหลอดเลือดดี 15 ปีขึ้นไป เป้าหมาย 238 ราย
คัดกรอง
|
กลุ่มอายุ
|
รวม
|
|
15 - 34
ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
1
|
32
|
33
|
เบาหวาน
|
1
|
32
|
33
|
จากตารางที่
1 พบว่าประชาชนบ้านปลาเดิดให้ความสนใจมารับบริการตรวจสุขภาพน้อย เนื่องจากไปทำงานต่างจังหวัดกันมากขึ้น คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
33 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.86
ตารางที่
2 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเสี่ยง
|
เพศ
|
รวม
|
|||
ชาย
|
หญิง
|
||||
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
0
|
2
|
0
|
1
|
3
|
เบาหวาน
|
0
|
0
|
0
|
1
|
1
|
จากตารางที่
2 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.09 และเสี่ยงเบาหวาน
1 ราย คิดเป็นร้อยละ
3.03 ซึ่งส่งต่อเพื่อประเมินภาวะเสี่ยงต่อที่
รพ.โนนนารายณ์ 2 ราย ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่
ตารางที่
3
การตรวจความเข้มข้นของเลือด
กลุ่มอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
||
ปกติ(36-52 %)
|
ผิดปกติ
|
ปกติ(33-48 %)
|
ผิดปกติ
|
|
0-6
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
7-14
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
15-34
ปี
|
1
|
0
|
0
|
0
|
35 ปีขึ้นไป
|
15
|
0
|
16
|
1
|
รวม
|
16
|
0
|
16
|
1
|
จากตารางที่
3 พบว่ามีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป มีภาวะโลหิตจางคือ เพศหญิง 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.25
จ่ายยาบำรุงโลหิต 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
ตารางที่ 4 การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
เพศ
|
ระดับความเสี่ยง
|
|||
ไม่ปลอดภัย
|
เสี่ยง
|
ปลอดภัย
|
ปกติ
|
|
ชาย
|
0
|
13
|
3
|
0
|
หญิง
|
0
|
12
|
5
|
0
|
รวม
|
0
|
25
|
8
|
0
|
จากตารางที่ 4 พบว่า กลุ่มเสี่ยง
พบ 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.76 ปลอดภัย 8 ราย
คิดเป็นร้อยละ 24.24 ให้ดื่มน้ำสมุนไพรรางจืด แนะนำการป้องกันตนเองจากการผสมสารพิษ การสวมถุงมือ
หน้ากากเวลาฉีดพ่นยาฆ่าแมลง กลับจากทุ่งนาล้างมือเท้าให้สะอาดหรือจะอาบน้ำทันทียิ่งดี
จากนั้นหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บ้านซาต
หมู่ 10 ต. ระเวียง
วันที่
29 มกราคม 2557 มียอดผู้มารับบริการ 42 ราย
ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่
1 การตรวจคัดกรองหลอดเลือดดี 15 ปีขึ้นไป เป้าหมาย 354
ราย
คัดกรอง
|
กลุ่มอายุ
|
รวม
|
|
15 - 34
ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
1
|
41
|
42
|
เบาหวาน
|
1
|
41
|
42
|
จากตารางที่
1 พบว่าประชาชนบ้านซาต
ให้ความสนใจมารับบริการตรวจสุขภาพน้อย
คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานทั้งหมด
42 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.86
ตารางที่
2 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเสี่ยง
|
เพศ
|
รวม
|
|||
ชาย
|
หญิง
|
||||
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
15-34 ปี
|
35 ปีขึ้นไป
|
||
ความดันโลหิตสูง
|
0
|
1
|
0
|
2
|
3
|
เบาหวาน
|
0
|
0
|
0
|
2
|
2
|
จากตารางที่
2 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 และเสี่ยงเบาหวาน
2 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.76 ซึ่งส่งต่อเพื่อประเมินภาวะเสี่ยงที่
รพ.สต.บ้านซาตครั้งที่ 2 ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่
ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและติดตามอาการตามเกณฑ์
ตารางที่
3
การตรวจความเข้มข้นของเลือด
กลุ่มอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
||
ปกติ(36-52 %)
|
ผิดปกติ
|
ปกติ(33-48 %)
|
ผิดปกติ
|
|
0-6
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
7-14
ปี
|
0
|
0
|
0
|
0
|
15-34
ปี
|
0
|
0
|
1
|
0
|
35
ปีขึ้นไป
|
8
|
1
|
29
|
3
|
รวม
|
8
|
1
|
30
|
3
|
จากตารางที่
3 พบว่ามีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป และเป็นเพศหญิงมีภาวะโลหิตจางมากกว่าเพศชาย 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.09 เพศชาย จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.11 จ่ายยาบำรุงโลหิต 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
ตารางที่
4 การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
เพศ
|
ระดับความเสี่ยง
|
|||
ไม่ปลอดภัย
|
เสี่ยง
|
ปลอดภัย
|
ปกติ
|
|
ชาย
|
2
|
5
|
2
|
0
|
หญิง
|
4
|
26
|
3
|
0
|
รวม
|
6
|
31
|
5
|
0
|
จากตารางที่
4 พบว่ากลุ่มไม่ปลอดภัย พบจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.28 กลุ่มเสี่ยง พบจำนวน 31 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.80 ส่วนกลุ่มที่ปลอดภัย พบ 5
ราย คิดเป็นร้อยละ 11.90 ซึ่งน้อยมาก ให้ดื่มน้ำสมุนไพรรางจืดทั้งชนิดชงดื่ม
และใบสดของรางจืดนำมาปั่นคั้นน้ำดื่ม ถ้ารสชาติเฝื่อน
ผสมน้ำผึ้งเล็กน้อยให้ดื่มได้ง่ายขึ้น
เพื่อขับสารพิษ แนะนำให้ดื่ม อย่างน้อย 2 สัปดาห์ติดต่อกัน วันละ 1-2
ครั้ง
แนะนำการป้องกันตนเองจากการผสมสารพิษ การสวมถุงมือ
หน้ากากเวลาฉีดพ่นยาฆ่าแมลง จากนั้นหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นัดมาตรวจซ้ำอีก 1
เดือน ที่ รพ.สต.บ้านซาต
จากการดำเนินงานโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้
1.ประชาชนออกมารับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพค่อนข้างน้อย
แต่การดำเนินโครงการได้มีการแก้ไขปัญหาโดยออกให้บริการคัดกรองอีกครั้งโดยการให้บริการตามหลังคาเรือนซึ่งได้รับความร่วมมือจากทีม
อสม. ผู้นำชุมชนช่วยประชาสัมพันธ์ พบกลุ่มเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ส่วนความดันโลหิตสูงป่วยรายใหม่
1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.40 (ตัวชี้วัดไม่เกินร้อยละ
10 ต่อปี) จากข้อมูลดังกล่าวทำให้ทราบว่าประชาชนมีแนวโน้มป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
จึงควรมีการตรวจคัดกรองทุกปี และเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง
2. กลุ่มอายุอื่นๆ ได้มารับการคัดกรองสุขภาพน้อย
ไม่ได้จำนวนตามเป้าหมาย
เนื่องจากเป็นวันที่นักเรียนต้องไปโรงเรียน และบางรายเรียนที่ต่างอำเภอ
จึงไม่ครอบคลุม สำหรับการแก้ไขปัญหาจะมีการออกบริการอนามัยโรงเรียน
ซึ่งกลุ่มนี้ต้องได้รับการตรวจสุขภาพอยู่แล้ว และการดำเนินงานครั้งต่อไป อาจจะต้องเลือกวันหยุดราชการเป็นการตรวจสุขภาพกลุ่มนี้
3. การตรวจความเข้มข้นของเลือดพบว่า
เพศหญิงมีภาวะโลหิตจางมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ
87.50 แสดงถึงภาวะขาดธาตุเหล็ก
ร่วมกับหากความเข้มข้นของเลือดต่ำมากๆ จะพบในผู้ที่เลือดออกรุนแรงหรือตับแข็ง จึงควรมีการรณรงค์การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
และ ลด ละ เลิกสุราในโอกาสต่อไป
4. จากการมารับบริการของประชาชนในแต่ละกลุ่มอายุ
แม้จะมารับบริการไม่มาก ทำให้เราทราบได้ว่ากลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปจะอยู่ในพื้นที่มากที่สุด
ซึ่งหากเทียบตามประชากรที่อยู่จริงแล้ว การมารับบริการตรวจสุขภาพกลุ่มอื่นๆ มารับบริการน้อย
ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุ
60 ปีขึ้นไป มาไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
5. การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง 173 ราย คิดเป็นร้อยละ 69.47
เนื่องจากประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม
มีการใช้ยาฆ่าแมลงเกือบทุกหลังคาเรือน อีกทั้งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายไม่ได้เกิดขึ้นทันทีทันใด
ความใส่ใจในเรื่องหันกลับมาใช้เกษตรอินทรีย์จึงมีน้อยนัก การขจัดพิษโดยดื่มน้ำสมุนไพรรางจืดและแนะนำให้ทำดื่มด้วยตนเองทุกราย
คิดเป็นร้อยละ 100 และจากการวิเคราะห์ในกลุ่ม อสม. ซึ่งมีระดับสารเคมีตกค้างในเลือด ระดับไม่ปลอดภัย
หลังจากนั้นดื่มน้ำรางจืด ไปแล้ว 3-4 สัปดาห์ วันละ 1
แก้ว (250-300 CC.) พบว่าเจาะเลือดตรวจซ้ำ
ระดับสารเคมีตกค้างในเลือดลดลง อยู่ในระดับเสี่ยง แต่อย่างไรก็ตามควรมีการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ
ควรมีการรณรงค์อย่างจริงจัง
6. อัตราการพบกลุ่มเสี่ยง ดังนี้
- กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 23 ราย คิดเป็นร้อยละ
9.23 ซึ่งลดลงจาก ปี 2556 (ร้อยละ35.28)
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ
3.21
ซึ่งลดลงจาก ปี 2556 (ร้อยละ 6.54)
- กลุ่มเสี่ยงหลอดเลือดสมอง จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.82 ซึ่งลดลงจาก
ปี 2556 (ร้อยละ 27.80)
- กลุ่มเสี่ยงอ้วนลงพุง จำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.48 ซึ่งลดลงจาก ปี 2556 (ร้อยละ 35.04)
- กลุ่มที่มีภาวะโลหิตจาง 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.42 ได้รับยาบำรุงโลหิตร้อยละ
100
8. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อบต.ระเวียง อสม. ผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน
มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
9. กลุ่มปกติ
ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย การควบคุมอาหาร การส่งเสริมสุขภาพจิต
ได้รับ
คำแนะนำเรื่องการลด ละ เลิก
บุหรี่และสุรา
กลุ่มป่วย ได้รับการตรวจรักษาโดยแพทย์ การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
และการเจาะเลือดเพื่อตรวจสุขภาพ
ตามแนวเวชปฏิบัติ
กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงอัมพฤกษ์
อัมพาต ตา ไต หัวใจ และเท้า
จุดเด่นจากการดำเนินโครงการ
1.
อสม. ให้ความร่วมมือ มี อสม. ที่มีศักยภาพ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการก่อนลงพื้นที่ ถ้าได้ฝึกปฏิบัติจากการลงทำงานจริงๆ
จะเกิดความเข้าใจและทำงานแทนเจ้าหน้าที่ได้เลย
2.
พนักงานผู้ช่วยสถานีอนามัยมีความสามารถหลายด้าน
มีจิตเสียสละ เข้าใจระบบงาน บางเรื่องให้คำปรึกษาได้ดี แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ชุมชนให้ความนับถือ
3.
เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลมีความสามารถเรื่องการติดต่อประสานงาน
การบริหารจัดการ
4.
ผู้บริหาร เห็นความสำคัญของโครงการ ทั้ง อบต. และ
รพ.สต.
5.
ประชาชนผู้มารับบริการ ให้ความร่วมมือ
ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่
6.
มีสมุนไพรรางจืดในท้องถิ่นใช้ต้มดื่มน้ำขจัดพิษในร่างกาย
ไม่ต้องซื้อ
7.
มีการนำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์
จุดด้อยและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
1.
อสม.
ขาดการประเมินความรู้อย่างต่อเนื่อง บางเรื่องไม่เคยฝึกปฏิบัติจริงทำให้ลืม
2.
ผู้มารับบริการมีน้อย กลุ่ม 15- 34 ปี ส่วนใหญ่ไปโรงเรียน ทำให้มารับบริการไม่ได้
3.
วันแรกๆ
ของการดำเนินงานยังไม่เป็นระบบต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
4.
ไม่มีงบประมาณในการดำเนินงาน
ปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข
1.
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกหมู่บ้าน แม้จะมีการรณรงค์ ส่งเสริมสุขภาพอยู่ตลอดเวลา ต้องเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง
2.
สารเคมีตกค้างในเลือดเป็นปัญหาที่พบทุกหมู่บ้าน
ส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่ปลอดภัยและเสี่ยง จะแก้ไขปัญหาอย่างไร
แม้จะขจัดพิษด้วยสมุนไพร แต่สารเคมีก็เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของประชาชนอยู่ตลอด
มีการรับเข้าสู่ร่างกายเพิ่มทุกวัน
และผลการตรวจถึงแม้จะไม่ปลอดภัยแต่สภาพร่างกายก็ปกติ ไม่ป่วยไข้
การให้ความสำคัญในการแก้ไขของชาวบ้านจึงน้อยนัก ควรแก้ไขที่ต้นเหตุของการใช้สารเคมีในการเกษตร
3.
ปัญหาภาวะโลหิตจาง แสดงถึงภาวะโภชนาการของคนในหมู่บ้าน
และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ทางโภชนาการ
โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพเด็กนักเรียนปี
2557
กำหนดการออกให้บริการในโรงเรียน
3 แห่ง ดังนี้
วันที่ออกบริการ
|
โรงเรียน
|
อสม.ที่มีส่วนร่วม
|
20 มิ.ย. 57
|
โรงเรียนบ้านหนองหว้า
|
อสม.
หมู่ 5
|
23 มิ.ย. 57
|
โรงเรียนบ้านก้านเหลือง
|
อสม.หมู่
4
|
25 มิ.ย. 57
|
โรงเรียนบ้านซาต(มงคลวิทยา)
|
อสม.หมู่
3 และ ม.10
|
นักเรียนเป็นอนาคตของชาติที่จะมีบทบาทในการพัฒนาประเทศเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ดังนั้นเราทุกคนโดยเฉพาะหน่วยบริการด้านสุขภาพควรให้ความสำคัญในการตรวจสุขภาพของเด็กนักเรียน
ในอวัยวะทุกส่วนของร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า
และมีอวัยวะส่วนหนึ่งที่แม้แต่นักเรียนหรือผู้ปกครองไม่มีเวลาที่จะสอดส่องดูแลก็คือ
หู เป็นอวัยวะที่แม้แต่ตัวเราเอง มีกระจกส่องก็ไม่สามารถดูหรือมองเห็นได้ภายในรูหู
แม้เรื่องเล็กเกี่ยวกับขี้หูอุดตันก็ส่งผลต่อการได้ยินและการเรียนของเด็กได้
รพ.สต.บ้านซาต จึงได้ออกดำเนินงานตรวจสุขภาพเด็กนักเรียน
ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงชั้น ป.6 โดยตรวจชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ประเมินภาวะโภชนาการ วัดเส้นรอบศีรษะ ดูเหา เชื้อราบนหนังศีรษะ หู ตา วัดสายตา จมูก
ช่องปาก คอ ต่อมไทรอยด์ ปอด หัวใจ เล็บมือ และความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
เจาะเลือดดูความเข้มข้นของเลือด หลังการดำเนินงานสรุปการตรวจคัดกรองสุขภาพได้ดังนี้
ชื่อโรงเรียน
|
จำนวนนักเรียนทั้งหมด(ราย)
|
จำนวนนักเรียนที่ได้รับการตรวจทั้งหมด(ราย)
|
คิดเป็นร้อยละ
|
ภาวะโลหิตจาง
|
มีเหา
|
ขี้หูอุดตัน
|
ฟันผุ
|
หนองหว้า
|
89
|
84
|
94.38
|
4
|
8
|
7
|
62
|
ก้านเหลือง
|
135
|
84
|
62.22
|
2
|
2
|
3
|
64
|
บ้านซาต
|
264
|
79
|
29.92
|
1
|
17
|
18
|
60
|
การแก้ไขปัญหา
-เด็กนักเรียนที่มีภาวะโลหิตจาง
ให้รับประทานยา folic
acid 1 เม็ด วันละครั้ง หลังอาหารเช้า
-เด็กที่พบเหา แนะนำการสระผม
และใช้สมุนไพร ฆ่าเหา
-เด็กที่มีขี้หูอุดตัน หยอดยาละลายขี้หู
No comments:
Post a Comment